นำโค้ดต่อไปนี้ไปวางไว้ที่ส่วน Head
<script language=Javascript>
function dateTime() {
var days = new Array("วันอาทิตย์ที่","วันจันทร์ที่","วันอังคารที่","วันพุทธที่",
"วันพฤหัสบดีที่","วันศุกร์ที่","วันเสาร์ที่")
var month = new Array("มกราคม","กุมภาพันธ์","มีนาคม","เมษายน","พฤษภาคม","มิถุนายน",
"กรกฎาคม","สิงหาคม","กันยายน","ตุลาคม","พฤษจิกายน","ธันวาคม")
var year= new Array("ชวด","ฉลู","ขาล","เถาะ","มะโรง","มะเส็ง","มะเมีย","มะแม","วอก","ระกา","จอ","กุล")
var now = new Date()
var result = days[now.getDay()]+" "
var add1=1900
var add2=add1+543
/* result += now.toLocaleString() */
result += now.getDate()
result += " "+month[now.getMonth()]+" พ.ศ. "
if(now.getYear())
{add1=2;add2=add1+541}
result += now.getYear()+add2
result += " ปี"+year[(now.getYear()+add2+5)%12]
result += " เวลา "+now.getHours()+" นาฬิกา "
result += now.getMinutes()+" นาที"
return result
}
function timeupdate(){
document.timef.timebox.value=dateTime()
setTimeout("timeupdate()",1000)
}
</script>
นำโค้ดต่อไปนี้ไปวางไว้ที่ส่วน Body หรือส่วนที่ต้องการให้แสดงผลบนเว็บไซต์
<form name=timef>
<input type="text" name="timebox" size=60>
</form>
และเพิ่มโค้ดต่อไปนี้ลงในส่วน Body
<body onload="timeupdate()">
การแทรกไฟล์เสียง
ขั้นตอนการทำ การแทรกไฟล์เสียง
1. เปิดไฟล์ใหม่ขึ้นมา หรือเปิดไฟล์ที่ save ไว้เรียบร้อยแล้ว คลิกตำแหน่งที่ต้องการจะแทรก
2. ไปที่ Insert > Media > Plugin จะมีหน้าต่างตามรูปภาพด้านล่างปรากฏ ให้เลือกไปที่ไฟล์ที่ต้องการแทรก
3. คลิก OK จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นมา
4. เราสามารถเปลี่ยนแปลงขนาดของพื้นที่เพลง ที่จะแสดงในหน้าเว็บเพจได้ เสียงเพลง ในเว็บเพจนั้น ถ้าไม่ใช่ไฟล์แบบ flash (flv) ตัวโปรแกรม Dreamweaver จะไม่รู้ขนาดที่ใช้ในการแสดง ทำให้ต้องกำหนดขนาดที่ต้องการให้แสดงผลเอง
5. เมื่อเราเลือกไฟล์เพลงที่แทรก ส่วน Property inspector จะมีรายละเอียดมีดังนี้
1. ช่องแรกสุดทางซ้ายมือ สำหรับใส่ชื่ออ้างอิงให้กับไฟล์ที่เราแทรกลงไป
2. W (Width) และ H (Height) กำหนดความกว้าง และความสูงของ ไฟล์ที่จะให้แสดงผล
3. Class กำหนด Style Sheet ให้กับไฟล์นี้
4. Src (Source) ตำแหน่งที่เก็บไฟล์
5. Align จัดตำแหน่งของไฟล์
6. Play button ใช้ทดลองเปิดไฟล์
7. Plg URL ใช้กำหนดเว็บไซต์สำหรับโหลดโปรแกรม สำหรับเปิดไฟล์ที่เราแทรกจะปรากฏเมื่อเครื่องผู้ใช้ไม่สามารถเปิดไฟล์ของเราได้
8. V Space (Vertical Space) กำหนดระยะห่างระหว่างไฟล์ flash กับวัตถุอื่นในเว็บเพจในตำแหน่งบนและล่าง
9. H Space (Horizontal Space) กำหนดระยะห่างระหว่างไฟล์ flash กับวัตถุอื่นในเว็บเพจในตำแหน่งซ้ายและขวา
10. Border กำหนดขอบให้กับไฟล์
11. Parameters กำหนดค่าตัวแปรอื่น จะพูดถึงในบทอื่น การแสดงผลไฟล์เสียงที่เราแทรกลงไปนี้ จะแสดงผลก็ต่อเมื่อโหลดข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้วเท่านั้น จะไม่มีการโหลดไฟล์พร้อมกับการเล่นไฟล์ อย่างในเว็บ YouTube ถ้าต้องการให้โหลดไปด้วยเล่นเป็นได้ต้องใช้งานในตัวเลือก Streaming ซึ่งจะต้องติดต่อกับ ผู้ดูแล server ว่าได้เปิด Streaming server ไว้หรือไม่
การทำแผนที่ Google Map
1.เข้าที่เว็บไซต์ https://maps.google.co.th/
2. พิมพ์สถานที่ที่ต้องการจะให้แสดงบนหน้าเว็บ แล้วกดเลือก
3. กำหนดตำแหน่ง และเส้นทางของสถานที่ที่ต้องการ
4. ปรับขนาดในการแสดง Google Map ซึ่งสามารถปรับได้หลายขนาดทั้ง เล็ก ปานกลาง ใหญ่ หรือ กำหนดเอง
5. คลิกที่ตำแหน่ง A > ตำแหน่ง B > ตำแหน่ง C ตามลำดับ เพื่อรับโค้ดไปใส่ในโปรแกรม แล้วทำการ Copy โค้ดที่ได้ทั้งหมด
6. นำโค้ดที่ได้มาวางไว้ในส่วนที่ต้องการให้แสดงผล
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบ